ufabet

แพทย์แผนจีน ศาสตร์แห่งสมดุลของธรรมชาติ

การฝังเข็ม • การครอบแก้ว • สมุนไพรจีน

แผนกแพทย์แผนจีนให้บริการรักษา โดย 4 วิธี

  • การฝังเข็ม การรมยา 
  • การครอบแก้ว
  • การนวดทุยหนา
  • สมุนไพรจีน (สมุนไพรต้ม, สมุนไพรสำเร็จรูป,ยาสมุนไพรผงสกัด)

การฝังเข็มคืออะไร?

การฝังเข็ม คือ ศาสตร์หนึ่งในการแพทย์แผนจีน ซึ่งได้รับการสืบทอดมานานกว่า 4000 ปี โดยมีหลักการคือ การใช้เข็มขนาดเล็กฝังลงไปบนจุดฝังเข็มตามร่างกาย ซึ่งมีตำแหน่งอยู่บนเส้นลมปราณ ตามทฤษฎีและหลักการรักษาของแพทย์แผนจีน เพื่อปรับดุลยภาพร่างกาย การไหลเวียนของเลือดและลมปราณให้กลับมาไหลเวียนเป็นปกติ

 การฝังเข็มมีกี่วิธี?

ปัจจุบันการฝังเข็มจะใช้เข็มอย่างเดียว หรือใช้เข็มและเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า หรือการรมยา การครอบกระปุกสุญญากาศ การใช้เข็มเคาะที่ผิวหนัง หรือใช้แม่เหล็กติดที่ใบหู หรือใช้เข็มผิวหนัง ส่วนจะใช้การฝังเข็มวิธีใดนั้น แพทย์จะพิจารณาจากโรค/อาการของผู้ป่วย

ufabet

ผู้ป่วยรู้สึกอย่างไรเมื่อถูกฝังเข็ม?

ปกติคนทั่วไปจะกลัวเข็ม กลัวเจ็บ ในความเป็นจริงแล้ว เมื่อเข็มแทงผ่านผิวหนังเข้าไปในร่างกาย แพทย์จีนใช้เทคนิคในการฝังเข็ม ผู้ป่วยจะรู้สึกคล้ายถูกมดกัด หรืออาจจะไม่รู้สึกเลย ส่วนใหญ่จะรู้สึกเพียงตื้อๆ ชา ตึงๆ

การฝังเข็มรักษาโรคได้อย่างไร?

ในร่างกายของคนมีเส้นลมปราณ 14 เส้น ทุกเส้นเกี่ยวข้องกับอวัยวะในร่างกาย แพทย์จีนจะใช้ทฤษฎีของหยิน-หยางกับ 5 ธาตุ (ไม้ ไฟ ดิน ทองและน้ำ) โดยผ่านเข็มหรือรมยาบนจุดเส้นลมปราณ เพื่อระบายหรือบำรุง โดยใช้ทักษะทำให้หยิน-หยางในร่างกายเกิดสมดุล ทำให้เลือดลมในร่างกายปกติ อาการก็จะบรรเทาได้

ศาสตร์การแพทย์แผนจีนสามารถรักษาโรคหรืออาการดังนี้

  1. อัมพฤกษ์-อัมพาต
  2. ปวดศีรษะ
  3. เวียนศีรษะ
  4. นอนไม่หลับ
  5. ซึมเศร้า
  6. หวัด
  7. ไอ เจ็บคอ
  8. หืด หอบ
  9. ภูมิแพ้อากาศ
  10. คลื่นไส้อาเจียน
  11. ปวดท้อง
  12. ท้องเสีย
  13. ท้องผูก
  14. ริดสีดวงทวาร
  15. แขนขาบวม
  16. ปัสสาวะรดที่นอน
  17. ปัสสาวะราด
  18. ปัสสาวะไม่ออก
  19. ฝันเปียก
  20. ต่อมลูกหมากโต
  21. เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
  22. ปวดคอ, เอว, หลัง, ไหล่
  23. ปวดบริเวณชายโครง
  24. ข้ออักเสบ ปวดข้อ
  25. กล้ามเนื้อลีบ (แขนขาลีบ)
  26. ผู้มีบุตรยาก (หญิง ชาย)
  27. ประจำเดือนไม่มา
  28. ประจำเดือนมาก/น้อยกว่าปกติ
  29. ตกขาว
  30. มีน้ำนมน้อย 
  31. วัยทอง
  32. เคล็ดขัดยอก
  33. หูอื้อ หูตึง
  34. ไซนัสอักเสบ
  35. ปวดฟัน
  36. อารมณ์แปรปรวน
  37. บำรุงร่างกาย
  38. ปรับสมดุลร่างกาย
  39. น้ำหนักเกิน
  40. น้ำหนักต่ำกว่าปกติ

การรักษาด้วยยาสมุนไพรจีน

บางโรค บางอาการ สามารถใช้สมุนไพรจีนรักษาได้ โดยปัจจุบันมีสมุนไพรแคปซูลสำเร็จรูป สมุนไพรต้ม และสมุนไพรผงซึ่งสกัดมาจากสมุนไพรต้ม โดยยังคงคุณสมบัติเหมือนกัน เพื่อความสะดวกและการปรุงรสชาติให้

รับประทานง่ายขึ้น พิษของยาลดลง และพกพาสะดวก

ufabet

 การรักษาด้วยศาสตร์แพทย์แผนจีน

1.รักษาอาการปวดต่างๆ

  • ปวดศีรษะ ไมเกรน ปวดต้นคอ ปวดบ่าไหล่ ไหล่ติด 
  • ปวดหลัง ปวดเอว ปวดขา ปวดข้อศอก ปวดเข่า 
  • ตกหมอน นิ้วล็อค

2.โรคทางกายภาพบำบัด

  • อัมพฤกษ์-อัมพาต อัมพาตใบหน้า ชาตามแขน-ขา

3.โรคทางหู คอ จมูก

  • แพ้อากาศ ไซนัสอักเสบ หูอื้อ มีเสียงในหู เจ็บคอ 
  • ไอเรื้อรัง หอบหืด

4.โรคทางอายุรกรรม

  • เวียนศีรษะ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัลไซเมอร์ 
  • ปลายประสาทอักเสบ พาร์กินสัน อาการอ่อนเพลีย
  • ไม่มีแรง​ (โดยไม่ทราบสาเหตุ)

5.โรคทางตา

  • ประสาทตาเสื่อม เห็นภาพไม่ชัด

6.โรคทางสูติ-นรีเวช

  • ประจำเดือนผิดปกติ (ปวดประจำเดือน, ประจำเดือนมาก, ประจำเดือนน้อยหรือไม่มา) วัยทอง ตกขาว มีบุตรยาก

7.โรคระบบทางเดินอาหาร

  • โรคกระเพาะอาหาร กรดไหลย้อน ท้องอืด ท้องผูก ท้องเสีย

8.อื่นๆ

  • ภูมิแพ้ผิวหนัง ลมพิษ นอนไม่หลับ เสริมความเต่งตึง 
  • เพิ่มความสดใสของใบหน้า สิว-ฝ้า ลดน้ำหนัก 
  • ผมร่วง เพิ่มส่วนสูง (จำกัดอายุ) บำรุงและ
  • ปรับสมดุลร่างกาย

ติดตามเนื้อหาดีๆ น่าอ่านได้ที่  cottagescanadaonline.com อัพเดตทุกสัปดาห์

Releated